เพื่อการว่าจ้างผู้รับเหมา สร้างบ้าน แบบ win win

Service Select Con

 

ลูกค้าสร้างบ้าน..
เป็นคนที่ประสบความ "สำเร็จ" ในชีวิต
อย่างน้อยก็ "ระดับหนึ่ง" หล่ะครับ
มีความ "เชี่ยวชาญ"
ในวิชาชีพของ "ตนเอง"
แต่ก็ยัง "ผิดพลาด"
หากมีการ "ตัดสินใจ" ที่ "ไม่ถูกต้อง"



การตัดสินใจ..แบบที่ 1

ให้ผู้รับเหมาเสนอราคา 3-4 ราย
ทำการ "เปรียบเทียบ" ราคา
แล้ว "ตัดสินใจ" เลือก..

มีคนแนะนำเทคนิค (ผิดๆ) ว่า..
ไม่ควรเลือก..ผู้รับเหมา..
รายที่เสนอราคา "สูงสุด" หรือ "ต่ำสุด"
แต่.. "ให้เลือก" ผู้รับเหมา
รายที่เสนอราคา "กลางๆ"

คุณอาจ "ไม่รู้" จริงๆว่า..
ที่ "เซ็นต์สัญญา" กับผู้รับเหมานั้น..

  • ราคาที่ "แท้จริง" คือเท่าไร ?
  • คุณภาพบ้าน..ได้แค่ไหน ?
  • ฝีมือช่าง..ได้แค่ไหน ?
  • วัสดุก่อสร้าง..ได้แค่ไหน ?
  • สถานภาพทางการเงินของผู้รับเหมา
    เป็นอย่างไร ?
  • อะไรคือ..
    มาตรการ "ป้องกัน" ความเสียหาย
    ที่เป็น "รูปธรรม"
    หากผู้รับเหมาทิ้งงาน ?

การตัดสินใจ..แบบที่ 2

ฟังๆ..เขามา
หรือ..ดูจากโซเชียลมีเดีย หรือ
เว็บบอร์ด

ดูว่าเขาจ้างกันราคา ตร.ม.ละเท่าไร ?
แล้ว "ใช้" สิ่งที่ "ฟัง" หรือ "เห็นมา"
เป็น "เกณฑ์ตัดสินใจ" ว่าจ้างผู้รับเหมา !!

คุณอาจ "ไม่รู้" จริงๆว่า..
ที่ "เซ็นต์สัญญา" กับผู้รับเหมานั้น..

  • ราคาที่ "แท้จริง" คือเท่าไร ?
  • คุณภาพบ้าน..ได้แค่ไหน ?
  • ฝีมือช่าง..ได้แค่ไหน ?
  • วัสดุก่อสร้าง..ได้แค่ไหน ?
  • สถานภาพทางการเงินของผู้รับเหมา
    เป็นอย่างไร ?
  • อะไรคือ..
    มาตรการ "ป้องกัน" ความเสียหาย
    ที่เป็น "รูปธรรม"
    หากผู้รับเหมาทิ้งงาน ?

การตัดสินใจ..แบบที่ 3

สอบถาม "ผู้ออกแบบ" ว่า..
ราคาของผู้รับเหมารายไหน
"เหมาะสม"

แล้ว "ตัดสินใจ" เลือกผู้รับเหมา
"ตามคำแนะนำ" ของ "ผู้ออกแบบ"
โดยอาจจะเข้าใจว่า..
ผู้ออกแบบ "ดูราคา" ให้แล้ว

เรื่องราคานี่..
ถ้าผู้ออกแบบ..
เพียง "แค่ดู" แต่บีโอคิวของผู้รับเหมา
แล้ว "แค่" เปรียบเทียบราคา
ด้วยการเอาราคาของผู้รับเหมา
แต่ละราย
มาเปรียบเทียบกัน
โดยไม่ได้ทำบีโอคิว "ที่ถูกต้อง"
มาเทียบ
ผมว่าราคา..ก็ยัง "ไม่ใช่" อยู่ดี

หรือ
ต่อให้มีการจัดทำบีโอคิว
มา "เปรียบเทียบ" ราคากับของผู้รับเหมา

ผมว่า..ก็ได้ "ระดับหนึ่ง" เท่านั้น

และถ้าหากว่า..
บีโอคิวดังกล่าว ไม่มีความละเอียดมากพอ
"อ่าน" ข้อความข้างล่างนี้
แล้ว "คิดตาม"
ว่า...ใช่อย่างที่ผมเขียนหรือไม่ ?

คุณอาจ "ไม่รู้" จริงๆว่า..
ที่ "เซ็นต์สัญญา" กับผู้รับเหมานั้น..

  • ราคาที่ "แท้จริง" คือเท่าไร ?
  • คุณภาพบ้าน..ได้แค่ไหน ?
  • ฝีมือช่าง..ได้แค่ไหน ?
  • วัสดุก่อสร้าง..ได้แค่ไหน ?
  • สถานภาพทางการเงินของผู้รับเหมา
    เป็นอย่างไร ?
  • อะไรคือ..
    มาตรการ "ป้องกัน" ความเสียหาย
    ที่เป็น "รูปธรรม"
    หากผู้รับเหมาทิ้งงาน ?

การตัดสินใจ..แบบที่ 4

มีคน "แนะนำ" ว่า..
ผู้รับเหมาคนนี้ "ดี"..จึงตกลงจ้าง.!!

โดยอาจจะคิดว่า..
ผู้แนะนำนั้น "รู้จัก" และ "เห็นผลงาน"
ของผู้รับเหมารายนั้นๆมาก่อน
จึงพอจะไว้วางใจได้

คุณอาจ "ไม่รู้" จริงๆว่า..
ที่ "เซ็นต์สัญญา" กับผู้รับเหมานั้น..

  • ราคาที่ "แท้จริง" คือเท่าไร ?
  • คุณภาพบ้าน..ได้แค่ไหน ?
  • ฝีมือช่าง..ได้แค่ไหน ?
  • วัสดุก่อสร้าง..ได้แค่ไหน ?
  • สถานภาพทางการเงินของผู้รับเหมา
    เป็นอย่างไร ?
  • อะไรคือ..
    มาตรการ "ป้องกัน" ความเสียหาย
    ที่เป็น "รูปธรรม"
    หากผู้รับเหมาทิ้งงาน ?

การตัดสินใจ..แบบที่ 5

เห็นผลงานดี เลยตกลงจ้าง

ประเด็นผลงาน “ดีจริง”..หรือไม่ ?
ไม่ควร “แค่”..ไปดูผลงานของผู้รับเหมา
ใช้เวลา “ชั่วโมงสองชั่วโมง” ที่หน่วยงาน
ของผู้รับเหมา
แล้ว “สรุป” ว่าผู้รับเหมารายนั้นฝีมือดี
(ดูแค่นี้ “ไม่พอ” ครับ)

คุณ “ควรขอดู” ภาพถ่าย
ผลงาน..ก่อสร้างของผู้รับเหมา
“ทุกขั้นตอน”

“ขอดูหลายๆ” รูปนะครับ
ดูตั้งแต่งานเข็ม งานฐานราก งานโครงสร้าง
งานโครงหลังคา งานก่อผนัง งานติดตั้งวงกบ
งานไฟฟ้า งานระบบท่อสุขาภิบาล
งานฉาบผนัง งานร้อยสายไฟฟ้า
งานปูกระเบื้อง งานทำฝ้า
งานติดตั้งดวงโคม สวิตช์ ปลั๊ก
งานปูผิวพื้น งานทำสี

เมื่อเห็นงานทั้งหมด
แล้วค่อย “ฟันธง”
ว่างานของผู้รับเหมา “ดีจริง” หริอไม่ ?

และหากเห็นผลงาน “ทั้งหมด” แล้ว
ได้ข้อสรุปว่า ผลงาน “ดีจริง”

แค่นี้ยัง “ไม่พอ” นะครับ

คุณ “ต้องดู” ในเรื่อง
ฐานะทาง “การเงิน”ของผู้รับเหมา
“คนคุมงาน” บ้านหลังนั้น
ใช่คนเดียวกับที่จะมาคุมงาน
บ้านของคุณหรือไม่ ?

คุณ "ถูกโก่งราคา"..หรือไม่ ?

คุณมี..
"มาตรการป้องกัน" ความเสียหาย
ที่เป็น "รูปธรรม" หากผู้รับเหมาทิ้งงาน
หรือไม่ ?

การตัดสินใจ..แบบที่ 6

เห็นบริษัทฯดูใหญ่โต
ผู้รับเหมาดูน่าเชื่อถือ เลยตกลงจ้าง !!

ในประเด็นนี้อยากเตือนว่า..
สิ่งที่เห็น (บริษัทใหญ่โต หรือดูน่าเชื่อถือ)..
อาจไม่ใช่ "อย่างที่คิด" ก็ได้
บริษัทฯ/ผู้รับเหมา..
ที่สร้างบ้านให้ลูกค้ารายก่อน "จบหลัง" แล้ว
ไม่ได้แปลว่า..
พอสร้างบ้านให้กับเราจะไม่มีปัญหา

คุณอาจ "ไม่รู้" จริงๆว่า..
ที่ "เซ็นต์สัญญา" กับผู้รับเหมานั้น..

  • ราคาที่ "แท้จริง" คือเท่าไร ?
  • คุณภาพบ้าน..ได้แค่ไหน ?
  • ฝีมือช่าง..ได้แค่ไหน ?
  • วัสดุก่อสร้าง..ได้แค่ไหน ?
  • สถานภาพทางการเงินของผู้รับเหมา
    เป็นอย่างไร ?
  • อะไรคือ..
    มาตรการ "ป้องกัน" ความเสียหาย
    ที่เป็น "รูปธรรม"
    หากผู้รับเหมาทิ้งงาน ?

การตัดสินใจ..แบบที่ 7

เพราะคุณจัดทำ "บีโอคิว"
เพื่อใช้ "ต่อรอง"ราคากับผู้รับเหมา
เรื่องนี้ "ไม่ผิด" ครับ
แต่...

ลอง.. "ตรวจสอบ" บีโอคิว
ตามวิธีการของผมนะครับ

  • ดูราคาวัสดุในบีโอคิว แล้วเช็คราคา
    กับร้านค้า
  • ดูปริมาณวัสดุในบีโอคิว
    ตัวอย่างเช่น ในบีโอคิวบอกว่า
    ใช้คอนกรีต 100 ลบ.ม.
    ให้คนทำบีโอคิวคิดปริมาณให้ดูสดๆ
    ต่อหน้าคุณ
  • บีโอคิวนั้น "สะท้อน"
    วิธีการที่ใช้ในการก่อสร้าง..หรือไม่ ?
    หรือ "เพียงแค่" บอกว่า
    บ้านหลังนี้ใช้วัสดุปริมาณเท่าไร ?
    ค่าวัสดุ ค่าแรง ค่าดำเนินการ
    และกำไรเท่าไร ?
    (เรื่องนี้มีผลนะครับ
    เวลาที่คุณ "จ้างที่ปรึกษาควบคุมงานฯ"
    มา "ตรวจสอบ" งานให้
    หากที่ปรึกษา "ถาม" ผู้รับเหมาว่า
    ตรงจุดนั้น.."ทำไมทำแบบนี้ "
    ควรจะใช้ "อีกวิธีการ" ซึ่งดีกว่า
    ผู้รับเหมา "อาจอ้าง" ได้ว่า
    เขา "ไม่ได้" ตีราคาแบบที่ปรึกษาฯ
    ต้องการให้ทำ

การตัดสินใจ..แบบที่ 8

เรื่องนี้ “ฉันรู้แล้ว”.!!

บางท่าน..
อาจ "มีประสบการณ์" ในการสร้างบ้านมาบ้าง
และก็สร้างบ้าน "แล้วเสร็จ"
โดยที่ท่าน “รับรู้ว่า”
มันก็ “ไม่มีปัญหาอะไร”

ซึ่งแท้จริงแล้ว..
มัน "ไม่มีปัญหา" จริงๆ หรือ มีปัญหา "แต่คุณไม่รู้ "

บางที "การไม่รู้" ทำให้..
ลูกค้าสร้างบ้าน เข้าใจว่า “ไม่มีปัญหา” ได้เหมือนกัน

การตัดสินใจแบบ “ฉันรู้แล้ว”
อาจทำให้เกิด "ผลเสีย" ตามมา

คุณอาจ "ไม่รู้" จริงๆว่า..
ที่ "เซ็นต์สัญญา" กับผู้รับเหมานั้น..

  • ราคาที่ "แท้จริง" คือเท่าไร ?
  • คุณภาพบ้าน..ได้แค่ไหน ?
  • ฝีมือช่าง..ได้แค่ไหน ?
  • วัสดุก่อสร้าง..ได้แค่ไหน ?
  • สถานภาพทางการเงินของผู้รับเหมา
    เป็นอย่างไร ?
  • อะไรคือ..
    มาตรการ "ป้องกัน" ความเสียหาย
    ที่เป็น "รูปธรรม"
    หากผู้รับเหมาทิ้งงาน ?




นี่ล่ะครับ ที่ผมบอกว่า..

สร้างบ้านราคา "หลักล้าน"
"ตัดสินใจ" ว่าจ้างผู้รับเหมา
ด้ายการ "คาดเดา"
โดย "ไม่รู้ "จริงๆว่า..
ราคาที่ "แท้จริง" และเหมาะสม..
ควรจะเป็น "เท่าไร" ?
และ "ได้" อะไรบ้างจากการสร้างบ้านหลังนี้
นอกจาก "ได้บ้าน" ..
ตามแบบที่ผู้ออกแบบทำไว้

 

แต่..
คำว่า "ได้บ้าน"
กับ "ได้บ้านคุณภาพ"
มันไม่เหมือนกัน..นะครับ.!!

 

ลูกค้าสร้างบ้าน "ส่วนใหญ่" มักเข้าใจผิดว่า
แบบก่อสร้าง "แบบเดียว" กัน
ต้อง "ได้บ้าน" ที่มีคุณภาพ "เหมือนกัน"
ได้บ้านที่..มีหน้าตา "เหมือนกัน"

ถ้าคุณคิดแบบนี้..
คุณยังเข้าใจ "ไม่ถูกต้อง" ครับ

 

และที่ถูกต้องก็คือ..

ได้บ้าน..
ที่มีหน้าตาตามที่สถาปนิก "ออกแบบ"ไว้
และะ"ต้องได้" ทั้ง "คุณภาพงาน"..และ "ฝีมือช่าง"

 

"บทสรุป" ของ "เรื่องนี้" ก็คือ
บ้านหลังหนึ่ง..อาจ "ได้แค่บ้าน"
แต่อีกหลัง.. "ได้บ้านคุณภาพ"



 

 

 

14 User Online